วันอาทิตย์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2558

การแลกเปลี่ยนร่วมมือระหว่างกัน (หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 : ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ)



  • ไทย สาธารณรัฐฝรั่งเศส

                 ไทยกับฝรั่งเศสเริ่มมีความสัมพันธ์ระหว่างกันตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช และพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ซึ่งได้ส่งราชทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับสยามเมื่อปี ...(อ่านเพิ่มเติม)




  • ไทย – เยอรมนี


  •           ความสัมพันธ์เยอรมนี-ไทย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเยอรมนี และประเทศไทย ที่เริ่มต้นอย่างเป็นทางการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเยือนยุโรปใน พ.ศ. 2440 และ พ.ศ. 2450 รวมทั้งโอรสหลายพระองค์ต่างทรงรับการศึกษาที่ประเทศเยอรมนี ...(อ่านเพิ่มเติม)


    • ไทย – สวิส

    ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสมาพันธรัฐสวิสได้พัฒนาอย่างราบรื่นและใกล้ชิดเป็นพิเศษมาตลอด สืบเนื่องจากการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงศึกษาและเจริญพระชนม์ที่สมาพันธรัฐสวิส อีกทั้ง...(อ่านเพิ่มเติม) 

    การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ (หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 : ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ)

    •   การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

    ความหมายและความสำคัญการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

                 การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขันทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
         ผลดีของความร่วมมือระหว่างประเทศ ...(อ่านเพิ่มเติม) 
       

                  

    องค์กรระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน (หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 : สิทธิมนุษยชน)

          1.  คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council)

                 ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ(Un  commission  for human  rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด  47  ประเทศ  วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ การพัฒนากลไกสิทธิมนุษยชนเป็นเอกภาพมากขึ้น  สำหรับประเทศไทยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้เข้ามามีบทบาทในหการเผยแพร่ความรู้ในเรื่องสิทธิมุนษยชนให้แพร่หลายมากขึ้น เพื่อตรวจสอบ  ติดตาม ให้ข้อแนะนำและเผยแพร่รายงานกรณีสิทธิมนุษยชน  สำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงเฮก  ประเทศเนเธอร์แลนด์...(อ่านเพิ่มเติม) 

          

    สิทธิมนุษยชน (หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 : สิทธิมนุษยชน)

                  สิทธิมนุษยชน (Human Right)  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ...(อ่านเพิ่มเติม)
                  
        

    กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนเเละประเทศ (หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 : กฎหมาย)


    • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

               รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 20 ฉบับ อันแสดงให้เห็นถึงความขาดเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557รัฐธรรมนูญไทยระบุว่าประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (เขียนว่า ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข) กำหนดให้มีการแบ่งแยกอำนาจระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับกำหนดให้ผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งและการแต่งตั้งแตกต่างกันไป เช่นเดียวกับพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์...(อ่านเพิมเติม)





    กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองเเละครอบครัว (หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 : กฎหมาย)

    • กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับบัตรประจำตัวประชาชน

    วิธีการขอมีบัตรประจำตัวประชาชน
    1.      วันที่มีอายุครอบ 15 ปีบริบูรณ์
    2.      วันที่ได้สัญชาติไทย หรือได้กลับคืนสัญชาติไทยตามกฏหมายว่าด้วยสัญชาติ
    3.      วันที่นายทะเบียนเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน...(อ่านเพิ่มเติม)



    การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ (หน่วยการเรียรู้ที่ 5 : การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข)


    • การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
         กระบวนการตรวจสอบและ การควบคุมการใช้อำนาจในการบริหารและปกครองประเทศและการบริการ สาธารณะตามหลักของ  กฎหมาย มหาชน มีหลักการสำคัญ 2 ประการคือ
    (1) การตรวจสอบและ ควบคุมการใช้อำนาจโดยองค์กรภายใน
    (2) การตรวจสอบและ ควบคุมการใช้อำนาจโดยองค์กรภายนอก...(อ่านเพิ่มเติม)